หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหรืหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอด
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1) ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูล
2) ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมอย่าถาวร
3 ) ใช้เป็นสือในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บไว้ในความจำหลักประเภทแรม หากเปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูยหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลมาจากหน่วยคามจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในสือที่ใช้บัญทึกภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวีดี
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้อุปกรณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ภาพ และลำโพงเป็นต้น
หน่วยความจำสำรองหรืหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอด
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1) ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูล
2) ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมอย่าถาวร
3 ) ใช้เป็นสือในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บไว้ในความจำหลักประเภทแรม หากเปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูยหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลมาจากหน่วยคามจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในสือที่ใช้บัญทึกภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวีดี
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้อุปกรณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ภาพ และลำโพงเป็นต้น
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึงคนที่มีความรู้ความสามารถ ในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น
อาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนรับผิดชอบ
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ 1) ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2 )ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3) ฝ่ายปฎิบัติงาน
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ 1) หัวหน้าฝ่ายงานคอมพิวเตอร์
2 )หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และว่างแผนระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
4 )ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5) พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
-นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
- โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
- วิศวกรระบบ
ทำหน้าที่ออกแบบสร้าง ดุแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
- พนักงานปฏิบัติการ
ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับภารกิจประจำวัน
แบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ระบบ
1) ผู้จัดระบบ
คือผู้ว่างนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
2 )นักวิเคราะห์ระบบ
คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
คือ ผู้เขียนโปรแกรมส่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4) ผู้ใช้
คือ ผู้ที่ทำงานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งาน
ซอฟแวร์ คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงาน ของคำสั่งที่จะทำหน้าที่ส่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรม นำมารวมกันให้สามารถใช้งานครบถ้วน
หน้าที่ของซอฟแวร์
ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
ประเภทของซอฟแวร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
1) ซอฟแวร์ระบบ
2) ซอฟแวร์ประยุกต์
3) ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ
1) ซอฟแวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับระบบ การทำงานคือ การดำงานพื้อนฐานต่างๆ
ซอฟแวร์ระบบที่รู้จักกันดีก็คือ
DOS, Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง
หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ1) ในการจัดการหน่วยรับข้อมูล และส่งออกเช่น รับรู้ การกดแป้นต่างๆ
2 )ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกันคือ นำเอาข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3) ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น
ประเภทของซอฟแวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ1) ระบบปฏิบัติการ
2 )ระบบแปลภาษา
ระบบปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า OS เป็นซอฟแวร์ในการดูแลระบบคอมพิเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมีซอฟแวรืระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากก็เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ วีนุกส์ และแม้กอินทอสเป็นต้น
1) ระบบปฏิบัติการ 1) ดอส เป็นซอฟแวร์ที่จัดการทำงานพัฒนามาแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดี ในหมู่ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติการ ดอส นั้นมีงานใช้งานน้อยมาก
2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถส่งงานโดยเมาส์มาขึ้น แทนการแผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียว
3) ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนา มาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องมือมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
4) ลีนุกซ์ เป็นระบบที่ปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกส์เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปีแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติ
ระบบลีนุกซ์สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกลูเช่น อินเทล ดิจิตอล และชันสปาร์ค
5) แมคอินทอซ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ ชนิดของระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1) ประเภทใช้งานเดี่ยว ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ครั้งละ1งานเท่านั้น
2 )ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงาน
3) ประเภทใช้งานหลายคน ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเอง เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง
2) ตัวแปลภาษา
การพัฒนาต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมได้ง่าย เข้าใจได้และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ภายหลังได้ ได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , C และ ภาษโลโกเป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น Fortran , Cobol และภาษาอาร์พีจี
อาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนรับผิดชอบ
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ 1) ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2 )ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3) ฝ่ายปฎิบัติงาน
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ 1) หัวหน้าฝ่ายงานคอมพิวเตอร์
2 )หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และว่างแผนระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
4 )ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5) พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
-นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
- โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
- วิศวกรระบบ
ทำหน้าที่ออกแบบสร้าง ดุแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
- พนักงานปฏิบัติการ
ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับภารกิจประจำวัน
แบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ระบบ
1) ผู้จัดระบบ
คือผู้ว่างนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
2 )นักวิเคราะห์ระบบ
คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
คือ ผู้เขียนโปรแกรมส่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4) ผู้ใช้
คือ ผู้ที่ทำงานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งาน
ซอฟแวร์ คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงาน ของคำสั่งที่จะทำหน้าที่ส่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรม นำมารวมกันให้สามารถใช้งานครบถ้วน
หน้าที่ของซอฟแวร์
ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
ประเภทของซอฟแวร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
1) ซอฟแวร์ระบบ
2) ซอฟแวร์ประยุกต์
3) ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ
1) ซอฟแวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับระบบ การทำงานคือ การดำงานพื้อนฐานต่างๆ
ซอฟแวร์ระบบที่รู้จักกันดีก็คือ
DOS, Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง
หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ1) ในการจัดการหน่วยรับข้อมูล และส่งออกเช่น รับรู้ การกดแป้นต่างๆ
2 )ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกันคือ นำเอาข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3) ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น
ประเภทของซอฟแวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ1) ระบบปฏิบัติการ
2 )ระบบแปลภาษา
ระบบปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า OS เป็นซอฟแวร์ในการดูแลระบบคอมพิเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมีซอฟแวรืระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากก็เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ วีนุกส์ และแม้กอินทอสเป็นต้น
1) ระบบปฏิบัติการ 1) ดอส เป็นซอฟแวร์ที่จัดการทำงานพัฒนามาแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดี ในหมู่ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติการ ดอส นั้นมีงานใช้งานน้อยมาก
2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถส่งงานโดยเมาส์มาขึ้น แทนการแผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียว
3) ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนา มาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องมือมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
4) ลีนุกซ์ เป็นระบบที่ปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกส์เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปีแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติ
ระบบลีนุกซ์สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกลูเช่น อินเทล ดิจิตอล และชันสปาร์ค
5) แมคอินทอซ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ ชนิดของระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1) ประเภทใช้งานเดี่ยว ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ครั้งละ1งานเท่านั้น
2 )ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงาน
3) ประเภทใช้งานหลายคน ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเอง เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง
2) ตัวแปลภาษา
การพัฒนาต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมได้ง่าย เข้าใจได้และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ภายหลังได้ ได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , C และ ภาษโลโกเป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น Fortran , Cobol และภาษาอาร์พีจี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น