วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ซอฟแวร์  คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงาน ของคำสั่งที่จะทำหน้าที่ส่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรม นำมารวมกันให้สามารถใช้งานครบถ้วน
หน้าที่ของซอฟแวร์
    ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
                                                         


ประเภทของซอฟแวร์  แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
 1) ซอฟแวร์ระบบ
 2) ซอฟแวร์ประยุกต์
 3) ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ
      1) ซอฟแวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับระบบ การทำงานคือ การดำงานพื้อนฐานต่างๆ
       ซอฟแวร์ระบบที่รู้จักกันดีก็คือ
DOS, Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง
                                หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ1) ในการจัดการหน่วยรับข้อมูล และส่งออกเช่น รับรู้ การกดแป้นต่างๆ
2 )ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกันคือ นำเอาข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3) ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น
                               ประเภทของซอฟแวร์ระบบ    แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1) ระบบปฏิบัติการ
2 )ระบบแปลภาษา
         ระบบปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า OS เป็นซอฟแวร์ในการดูแลระบบคอมพิเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมีซอฟแวรืระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากก็เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ วีนุกส์ และแม้กอินทอสเป็นต้น
        1) ระบบปฏิบัติการ             1) ดอส เป็นซอฟแวร์ที่จัดการทำงานพัฒนามาแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดี ในหมู่ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติการ ดอส นั้นมีงานใช้งานน้อยมาก
             2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถส่งงานโดยเมาส์มาขึ้น แทนการแผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียว
             3) ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนา มาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องมือมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
             4) ลีนุกซ์ เป็นระบบที่ปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกส์เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปีแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติ
                 ระบบลีนุกซ์สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกลูเช่น อินเทล ดิจิตอล และชันสปาร์ค
             5) แมคอินทอซ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
                                     ชนิดของระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1) ประเภทใช้งานเดี่ยว ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ครั้งละ1งานเท่านั้น
2 )ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงาน
3) ประเภทใช้งานหลายคน ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเอง เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง


2) ตัวแปลภาษา
         การพัฒนาต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
         ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมได้ง่าย เข้าใจได้และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ภายหลังได้ ได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , C และ ภาษโลโกเป็นต้น
         นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น Fortran , Cobol และภาษาอาร์พีจี



๒) ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Softwaer)
          ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานโดยเฉพาะเช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์เป็นต้น
        ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งได้ดังนี้
                 . แบ่งตามลักษณะการผลิต

          - ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software )
          - ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป ( Packaged Software )
                  .แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน
          - กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ (Business)
           - กลุ่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย(Grapic and Multimedia)
           -กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Web and Communications)
 - กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ (Business) ใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ เช่น
·  โปรแกรมประมวลผล อาทิ Microsoft word , Sun Star Office Writer
·  โปรแกรมตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel , Sun Star Office cals
·  โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft PowerPoint  Sun Star Office Impress
- กลุ่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย(Grapic and Multimedia) เพื่อช่วยงานด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดียให้ง่ายขึ้นโดยการเอาสื่อทางเสียง ทางภาพมาผสมผสานกัน เช่นตัดต่อ วาดรูป ปรับเสียง การสร้างและออกแบบเว็บไซต์เป็นต้น
·  โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
·  โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Corel DRAW , Adobe Photoshop
·  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premieres, Pinnacle, Studio DV
·  โปรแกรมสร้างสื่อมัตติมีเดีย อาทิ Adobe Aut horware, Toolbook Instructor, Adobe Director
·  โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flrsh, Adobe Dreamweaver
   -กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Web and Communications) การเติบโตของอินเตอร์เน็ตทำให้ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมเช่น
·  โปรแกรมจัดการอีเมล์ อาทิ  Microsoft  Outlook, Mozzila Thunderbird
·  โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ   Microsoft  Internet Explorer, Mozzila Freefox
·  โปรแกรมประชุมทางไกล (Vidio Conference) อาทิ  Microsoft Netmeeting
·  โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ  MSN Messenger/Windows Messenger, MIRCH
·  โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH , MIRCH
 ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษรเป็นประโยคข้อความ

ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
     ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
·       ภาษาเครื่อง (Machine  Languages) ยุคที่ 1 ผู้ออกแบบใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่ง
·       ภาษาแอสเซมซี (Assembly  Languages) ยุคที่ 2 แปลชุดภาษาแอสเซมซีเป็นภาษาเครื่อง
·       ภาษาระดับสูง(Hight-Level  Languages) ยุคที่ 3 เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ มีอยู่ 2 ชนิด คือ คอมไพเลอร์ และ อินเทอร์พรีเตอร์





วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

หน่วยความจำสำรอง 
หน่วยความจำสำรองหรืหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอด
              หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1) ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูล
2)  ใช้ในการเก็บข้อมูลโปรแกรมอย่าถาวร
3 ) ใช้เป็นสือในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
                                           ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บไว้ในความจำหลักประเภทแรม หากเปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูยหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลมาจากหน่วยคามจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในสือที่ใช้บัญทึกภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวีดี
                                       ส่วนแสดงผลข้อมูล  คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้อุปกรณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ภาพ และลำโพงเป็นต้น            
                                     
                                      บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึงคนที่มีความรู้ความสามารถ ในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น
อาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนรับผิดชอบ
                                     ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์  1) ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
  2 )ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
  3) ฝ่ายปฎิบัติงาน
                                   บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์  1) หัวหน้าฝ่ายงานคอมพิวเตอร์
  2 )หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และว่างแผนระบบงาน
  3) โปรแกรมเมอร์
  4 )ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
  5) พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
              -นักวิเคราะห์ระบบงาน
  ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
              - โปรแกรมเมอร์
  นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
              - วิศวกรระบบ
 ทำหน้าที่ออกแบบสร้าง ดุแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
              - พนักงานปฏิบัติการ
ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับภารกิจประจำวัน
                              แบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ระบบ
1) ผู้จัดระบบ
  คือผู้ว่างนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
2 )นักวิเคราะห์ระบบ
   คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ระบบงาน
3) โปรแกรมเมอร์
   คือ ผู้เขียนโปรแกรมส่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4) ผู้ใช้
  คือ ผู้ที่ทำงานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จึงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งาน

                               ซอฟแวร์  คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงาน ของคำสั่งที่จะทำหน้าที่ส่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรม นำมารวมกันให้สามารถใช้งานครบถ้วน
                             หน้าที่ของซอฟแวร์
    ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
                             ประเภทของซอฟแวร์  แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
 
1) ซอฟแวร์ระบบ
 2) ซอฟแวร์ประยุกต์
 3) ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ

      1) ซอฟแวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับระบบ การทำงานคือ การดำงานพื้อนฐานต่างๆ
       ซอฟแวร์ระบบที่รู้จักกันดีก็คือ
DOS, Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง
                                หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ1) ในการจัดการหน่วยรับข้อมูล และส่งออกเช่น รับรู้ การกดแป้นต่างๆ
2 )ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกันคือ นำเอาข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3) ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น
                               ประเภทของซอฟแวร์ระบบ    แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1) ระบบปฏิบัติการ
2 )ระบบแปลภาษา

         ระบบปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า OS เป็นซอฟแวร์ในการดูแลระบบคอมพิเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมีซอฟแวรืระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากก็เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ วีนุกส์ และแม้กอินทอสเป็นต้น
        1) ระบบปฏิบัติการ             1) ดอส เป็นซอฟแวร์ที่จัดการทำงานพัฒนามาแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดี ในหมู่ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติการ ดอส นั้นมีงานใช้งานน้อยมาก
             2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถส่งงานโดยเมาส์มาขึ้น แทนการแผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียว
             3) ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนา มาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องมือมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
             4) ลีนุกซ์ เป็นระบบที่ปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกส์เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปีแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติ
                 ระบบลีนุกซ์สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกลูเช่น อินเทล ดิจิตอล และชันสปาร์ค
             5) แมคอินทอซ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
                                     ชนิดของระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1) ประเภทใช้งานเดี่ยว ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ครั้งละ1งานเท่านั้น
2 )ประเภทใช้หลายงาน สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงาน
3) ประเภทใช้งานหลายคน ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเอง เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง


2) ตัวแปลภาษา
         การพัฒนาต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
         ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมได้ง่าย เข้าใจได้และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ภายหลังได้ ได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , C และ ภาษโลโกเป็นต้น
         นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น Fortran , Cobol และภาษาอาร์พีจี


วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ระบบคอมพิวเตอร์
         หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
๑.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
๒.ซอฟแวร์ (Software) หรือส่วนชุดคำสั่ง
๓.ข้อมูล (Deta)
๔.บุคลากร (People)
ฮาร์ดแวร์
         หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆที่สามารถจับต้องได้

        ฮาร์แวร์ประกอบด้วย4ส่วนคือ
   1. ส่วนประมวลผล
   2. ส่วนความจำ
   3. อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก
   4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล
          ส่วนที่1 CPU
CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง
          มีหน้าที่หน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานคอมพิวเตอร์ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูล โดยการเปรียบเทียบข้อมูลทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยการทำงานเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบให้เป็นข้อมูลที่สามารถใช้งานได้
         ส่วนที่2 หน่วยความจำ
       จำแนกออกเป็น3ประเภทดังนี้
   1) หน่วยความจำหลัก
   2) หน่วยความจำสำรอง
   3) หน่วยเก็บข้อมูล
       (1) หน่วยความจำหลัก
            แบ่งได้2ประเภทคือ หน่วยความจำแบบ "แรม" RAM และหน่วยความจำรอม "ROM"
 1.1 หน่วยความจำแรม RAM
       เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูลข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูล จะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน
1.2 หน่วยความจำแบบ ROM
       เป็นหน่วยความจำที่ใช้ในการเก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลหลักถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ย่อมใช้CDU อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียว ไม่สามารถเขียนข้อมูลไปเก็บไว้ได้ ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุมเราเรียกหน่วยความจำนี้ว่าหน่วยความจำแบบลบเลือน
       (2) หน่วยความจำสำรอง
             หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับสำรอง หรือทำงานกับข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่เนื่องจากขนาดของแผ่นโปรแกรมมีจำกัด หน่วยความจำสำรองสามารถเก็บไว้ได้หลาบแบบ เช่น แผ่นบันทึก จานบันทึกแบบแข็ง แผ่นซีดีรอม

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
๑. มีความเร็วในการทำงานสูง
๒. ประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้อย่างตลอด ๒๔ ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้
๓. มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
๔. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
๕. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนี่งไปอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
        คอมพิวเตอร์  คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ
         ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
                คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์  หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย
ส่วนที่ ๑ หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ
ส่วนที่ ๒ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณ ทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
ส่วนที่ ๓ หน่วยความจำ (Output Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่ยวประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้เตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
ส่วนที่ ๔ หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แแสดงผลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล
ส่วนที่ ๕ อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equpment Unit) เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น